พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต
อ. กระทู้ จ.ภูเก็ต
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ภูเก็ต
ความยิ่งใหญ่แห่งประวัติศาสตร์การทำเหมืองแร่ของชาวกะทู้ เป็นเรื่องราวที่ถูกกล่าวขาน แม้กาลเวลาจะล่วงเลยมาหลายทศวรรษ แต่หุบเขาแห่งนี้ได้ถูกบันทึกไว้ให้เป็นอีกหน้าหนึ่งของประวัติศาสตร์ภูเก็ต
เปิดม่านหลังกาลเวลาเกาะแห่งพญามังกร ย้อนยุคเรื่องราวการทำเหมืองแร่ในจังหวัดภูเก็ต
สายแร่แห่งชีวิต นำเสนอเรื่องราวของเหมืองแร่ด้วยการฉายวีดีทัศน์และการบรรยาย
อารยธรรมบาบ๋า แสดงของมีค่าโบราณของคหปานี เช่น แหวน บาเย๊ะ ผ้าปาเต๊ะ กิ่มตู้น ปิ้นตั้ง หินมีค่า และอัญมณี เป็นต้น
พัฒนาการมนุษย์ แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของมนุษย์วานรโฮโมฮาบิลิส ที่ใช้หินเป็นเครื่องมือดำรงชีวิตในอดีต จนพัฒนามาใช้โลหะในปัจจุบัน
ภูเก็ต : ดินแดนแห่งโภคทรัพย์ แสดงถ้ำในยุคหิน การสำรวจแร่ (ทามตั๋ง) การบุกเบิกแหล่งแร่
ตามรอยเหมืองแร่ นำเสนอเหมืองแร่ประเภทต่าง ๆ เช่น เหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เป็นต้น
กว่าจะได้แร่มา แสดงขั้นตอนการถลุงแร่และผลิตภัณฑ์จากดีบุก
นาวาชีวิต แสดงการย้ายถิ่นฐานและการติดต่อค้าขายทางเรือสำเภา เป็นท่าเรือที่สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นมาของชาวจีนที่ข้ามน้ำข้ามทะเลมาแสวง โชคที่เกาะภูเก็ต
เรื่องเล่า จากชาวเหมือง ย้อนอดีตวิถีชีวิตชาวจีนในยุคเหมืองแร่รุ่งเรือง มีโกปี้เตี้ยม โรงขนมจีน ศาลเจ้า โรงงิ้ว โรงฝิ่น ร้านขายยาจีน เป็นต้น
หมายเหตุเหมืองแร่ เก็บหลักฐานสำคัญต่าง ๆ เช่น แผนที่ ประทานบัตร รูปถ่าย จดหมาย เอกสารเกี่ยวกับเหมืองแร่และนามสกุลในมณฑลภูเก็จ เป็นต้น
เปิดโลกแห่งการเรียนรู้ไร้พรหมแดน เป็นห้องสมุดเฉพาะเหมืองแร่ วิถีชีวิตชาวเหมือง และวัฒนธรรมท้องถิ่น ด้วยระบบ E-MUSEUM เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษา นักวิจัย นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่
หมู่ 5 ถนนสายกะทู้-นาเกาะ ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83120
โทรศัพท์ 0-7632-1500 โทรสาร 0-7632-2140
ภูเก็ตจังหวัดแห่งไข่มุขอันดามัน เป็นสวรรค์ของนักท่องเที่ยว เมื่อพูดถึงจังหัดภูเก็ต เราคงนึกถึงภาพของทะเลสีคราม น้ำใส หาดทรายสีขาว แต่ ณ ที่แห่งนี้ กลับมีมนต์เสน่ห์หลายอย่างที่รอคอยให้เราค้นหาทั้งเรื่องราวของศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ของชุมชน โดยเฉพาะเรื่อง เหมืองแร่และเรื่องเล่าจากชาวเหมือง
ความยิ่งใหญ่แห่งประวัติศาสตร์การทำเหมืองแร่ของชาวกะทู้ เป็นเรื่องราวที่ถูกกล่าวขาน แม้กาลเวลาจะล่วงเลยมาหลายทศวรรษ แต่หุบเขาแห่งนี้ได้ถูกบันทึกไว้ให้เป็นอีกหน้าหนึ่งของประวัติศาสตร์ภูเก็ต
สถานที่ตั้ง พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ 5 ถนนสายกะทู้-นาเกาะ ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต บริเวณเหมืองแร่เก่าท่อสูง ระหว่างเขานางพันธุรัตน์ ด้านเหนือติดกับเทือกเขาเก็ตหนี ด้านตะวันออกหรือระหว่างบ้านเกาะแก้ว-บางคู ติดกับสนามกอล์ฟล๊อกปาล์มกะทู้
ประวัติความเป็นมา
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต เกิดขึ้นภายใต้แนวคิดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและประวัติ ศาสตร์ชุมชน โดยเฉพาะตำบลกะทู้ในอดีตมีการทำเหมืองแร่ดีบุกเกือบทั่วพื้นที่ ร่องรอยที่เหลืออยู่ของขุมเหมืองล้วนมีจิตวิญญาณที่สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่า แห่งภูมิปัญญาของบรรพชน ที่ควรแก่การอนุรักษ์ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่คนรุ่นหลังสืบไป จากเหตุดังกล่าว นายประเสริฐ ขาวกิจไพศาล อดีตนายกเทศมนตรีเมืองกะทู้ ในสมัยที่ดำรงตำแหน่ง จึงได้เสนอแผนแม่บทการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนเป็นรูปธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2549 และแล้วเสร็จในปี 2551
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต เกิดขึ้นภายใต้แนวคิดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและประวัติ ศาสตร์ชุมชน โดยเฉพาะตำบลกะทู้ในอดีตมีการทำเหมืองแร่ดีบุกเกือบทั่วพื้นที่ ร่องรอยที่เหลืออยู่ของขุมเหมืองล้วนมีจิตวิญญาณที่สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่า แห่งภูมิปัญญาของบรรพชน ที่ควรแก่การอนุรักษ์ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่คนรุ่นหลังสืบไป จากเหตุดังกล่าว นายประเสริฐ ขาวกิจไพศาล อดีตนายกเทศมนตรีเมืองกะทู้ ในสมัยที่ดำรงตำแหน่ง จึงได้เสนอแผนแม่บทการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนเป็นรูปธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2549 และแล้วเสร็จในปี 2551
รูปทรงทางสถาปัตยกรรม
อาคารพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ได้มีการออกแบบโดยสถาปนิกกองช่าง เทศบาลเมืองกะทู้ เป็นอาคารแบบชิโนโปรตุกีส 1 ชั้นครึ่ง มีจิ่มแจ้(ลาน) อยู่ตรงกลาง มีการตกแต่งหน้าต่างด้วยลายปูนปั้นซุ้มโค้งแบน สะท้อนให้เห็นถึงความงดงามแห่งการผสมผสาน จึงเรีกอาคารนี้ว่า “อังมอหลาวนายหัวเหมือง”
อาคารพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ได้มีการออกแบบโดยสถาปนิกกองช่าง เทศบาลเมืองกะทู้ เป็นอาคารแบบชิโนโปรตุกีส 1 ชั้นครึ่ง มีจิ่มแจ้(ลาน) อยู่ตรงกลาง มีการตกแต่งหน้าต่างด้วยลายปูนปั้นซุ้มโค้งแบน สะท้อนให้เห็นถึงความงดงามแห่งการผสมผสาน จึงเรีกอาคารนี้ว่า “อังมอหลาวนายหัวเหมือง”
การจัดแสดงนิทรรศการ
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ มีการแสดงนิทรรศการแบบมีชีวิต (Life Museum) โดยแบ่งการแสดงไว้เป็น 2 ส่วน คือ ภายนอกอาคาร (Outdoor) ประกอบด้วย เหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เหมืองฉีด เหมืองเรือขุด ส่วยภายในอาคาร (Indoor) “อังมอเหลานายหัวเหมือง” จัดแสดงนิทรรศการ ประวัติความเป็นมาของการทำเหมืองแร่ดีบุก และวิถีชีวิตของชาวเหมือง ดังนี้
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ มีการแสดงนิทรรศการแบบมีชีวิต (Life Museum) โดยแบ่งการแสดงไว้เป็น 2 ส่วน คือ ภายนอกอาคาร (Outdoor) ประกอบด้วย เหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เหมืองฉีด เหมืองเรือขุด ส่วยภายในอาคาร (Indoor) “อังมอเหลานายหัวเหมือง” จัดแสดงนิทรรศการ ประวัติความเป็นมาของการทำเหมืองแร่ดีบุก และวิถีชีวิตของชาวเหมือง ดังนี้
เปิดม่านหลังกาลเวลาเกาะแห่งพญามังกร ย้อนยุคเรื่องราวการทำเหมืองแร่ในจังหวัดภูเก็ต
สายแร่แห่งชีวิต นำเสนอเรื่องราวของเหมืองแร่ด้วยการฉายวีดีทัศน์และการบรรยาย
อารยธรรมบาบ๋า แสดงของมีค่าโบราณของคหปานี เช่น แหวน บาเย๊ะ ผ้าปาเต๊ะ กิ่มตู้น ปิ้นตั้ง หินมีค่า และอัญมณี เป็นต้น
พัฒนาการมนุษย์ แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของมนุษย์วานรโฮโมฮาบิลิส ที่ใช้หินเป็นเครื่องมือดำรงชีวิตในอดีต จนพัฒนามาใช้โลหะในปัจจุบัน
ภูเก็ต : ดินแดนแห่งโภคทรัพย์ แสดงถ้ำในยุคหิน การสำรวจแร่ (ทามตั๋ง) การบุกเบิกแหล่งแร่
ตามรอยเหมืองแร่ นำเสนอเหมืองแร่ประเภทต่าง ๆ เช่น เหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เป็นต้น
กว่าจะได้แร่มา แสดงขั้นตอนการถลุงแร่และผลิตภัณฑ์จากดีบุก
นาวาชีวิต แสดงการย้ายถิ่นฐานและการติดต่อค้าขายทางเรือสำเภา เป็นท่าเรือที่สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นมาของชาวจีนที่ข้ามน้ำข้ามทะเลมาแสวง โชคที่เกาะภูเก็ต
เรื่องเล่า จากชาวเหมือง ย้อนอดีตวิถีชีวิตชาวจีนในยุคเหมืองแร่รุ่งเรือง มีโกปี้เตี้ยม โรงขนมจีน ศาลเจ้า โรงงิ้ว โรงฝิ่น ร้านขายยาจีน เป็นต้น
หมายเหตุเหมืองแร่ เก็บหลักฐานสำคัญต่าง ๆ เช่น แผนที่ ประทานบัตร รูปถ่าย จดหมาย เอกสารเกี่ยวกับเหมืองแร่และนามสกุลในมณฑลภูเก็จ เป็นต้น
เปิดโลกแห่งการเรียนรู้ไร้พรหมแดน เป็นห้องสมุดเฉพาะเหมืองแร่ วิถีชีวิตชาวเหมือง และวัฒนธรรมท้องถิ่น ด้วยระบบ E-MUSEUM เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษา นักวิจัย นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป
งานบริการ
ให้บริการทางการศึกษา โดยการนำชมและจัดนิทรรศการพิเศษในโอกาสต่าง ๆ
จัดทำเอกสารเผยแพร่เรื่องราวทางวิชาการ ด้านประวัติศาสตร์ คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยน และวัฒนธรรม
ให้บริการสืบค้นข้อมูลในระบบ E-MUSEUM เรื่องราวทางวิชาการ ด้านธรณีวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยน และวัฒนธรรม
ให้บริการทางการศึกษา โดยการนำชมและจัดนิทรรศการพิเศษในโอกาสต่าง ๆ
จัดทำเอกสารเผยแพร่เรื่องราวทางวิชาการ ด้านประวัติศาสตร์ คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยน และวัฒนธรรม
ให้บริการสืบค้นข้อมูลในระบบ E-MUSEUM เรื่องราวทางวิชาการ ด้านธรณีวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยน และวัฒนธรรม
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่
หมู่ 5 ถนนสายกะทู้-นาเกาะ ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83120
โทรศัพท์ 0-7632-1500 โทรสาร 0-7632-2140
เนื่องจากสถามที่ดังกล่าวได้ประกาศหยุดให้บริการชั่วคราว เพราะกำลังทำการปรับปรุง
Credit www.kathucity.go.th
วิธีเดินทางจากกรุงเทพฯ-พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต ร่วมระยะทางประมาณ 845 กม
ถนนพญาไท |
1. | มุ่งไปทางทิศ เหนือ ไปตาม ถนน พญาไท | 37 ม. | |
2. | เมื่อถึงวงเวียน ใช้ทางออก ที่ 2 ไปยัง ถนนพหลโยธิน/ | 270 ม. | |
3. | เลี้ยวซ้าย เข้าสู่ทางลาดไปยัง ทาง ด่วนขั้นที่ 2/ | 23 ม. | |
4. | ชิดขวาตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง ทางด่วนขั้นที่ 2/ ทางพิเศษ | 750 ม. | |
5. | ใ้ช้ทางออกเข้าสู่ Bang Khlo/ ทางพิเศษ | 450 ม. | |
6. | ตัดเข้าไปยัง เส้นทาง 3119 ทางพิเศษ | 8.9 กม. | |
7. | ใช้ทางออก South 2-14 เข้าสู่ Bang Khlo/ ทางพิเศษ | 700 ม. | |
8. | ตัดเข้าไปยัง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร/ ถนน ที่เก็บค่าผ่านทางบางช่วง | 7.0 กม. | |
9. | ขับต่อไปยัง เส้นทาง 35 | 51.4 กม. | |
10. | เลี้ยวซ้ายเล็กน้อย เพื่อวิ่งบน เส้นทาง 35 | 30.3 กม. | |
11. | ใช้ทางลาดไปยัง เพชรเกษม/ | 450 ม. | |
12. | ชิดซ้ายตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เพชรเกษม/ | 190 ม. | |
13. | ชิดขวาตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เพชรเกษม/ | 64.4 กม. | |
14. | ชิดซ้ายตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เพชรเกษม/ | 850 ม. | |
15. | ชิดซ้ายตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เพชรเกษม/ วิ่งต่อไปตามเส้นทาง เส้นทาง 4 | 50.6 กม. | |
16. | เลี้ยวขวา ที่ เพชรเกษม/ | 182 กม. | |
17. | ชิดขวาตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เส้นทาง 41 | 67.1 กม. | |
18. | ขับต่อไปยัง เส้นทาง 41 | 172 กม. | |
19. | ใ้ช้ทางออกเข้าสู่ เส้นทาง 401 | 450 ม. | |
20. | เลี้ยวขวา ที่ เส้นทาง 401 | 47.3 กม. | |
21. | เลี้ยวซ้าย ที่ เส้นทาง 415 | 48.4 กม. | |
22. | เลี้ยวขวา ที่ เพชรเกษม/ | 5.4 กม. | |
23. | เลี้ยวซ้าย ที่ เส้นทาง 415 | 21.7 กม. | |
24. | เลี้ยวซ้าย ที่ เพชรเกษม/ | 9.7 กม. | |
25. | ขับตรงไปตลอดเพื่อวิ่งบน เพชรเกษม/ วิ่งต่อไปตามเส้นทาง เส้นทาง 4 | 26.8 กม. | |
26. | ขับต่อไปยัง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402/ วิ่งต่อ ไปตามเส้นทาง เส้นทาง 402 | 7.2 กม. | |
27. | ชิดซ้ายตรงทางแยก เพื่อวิ่งต่อไปยัง เทพกระษัตรี/ วิ่งผ่านวงเวียน 1 | 30.6 กม. | |
28. | กลับรถ | 74 ม. | |
29. | ใช้ ที่ 1 ทางซ้าย เข้าสู่ ห่าน ฝรั่ง | 950 ม. | |
30. | ขับต่อไปยัง เส้นทาง 3013 | 1.1 กม. | |
31. | เลี้ยวขวา เพื่อวิ่งบน เส้น ทาง 3013 | 4.4 กม. | |
32. | เลี้ยวซ้าย | 1.6 กม. | |
33. | เลี้ยวขวา ไปยัง เส้นทาง 4020 | 1.7 กม. | |
34. | วิ่งตรงต่อไปยัง เส้นทาง 4020 ปลายทางจะอยู่ทางขวา | 190 ม. |
0 ความคิดเห็น:
Post a Comment